เรื่อง : สกลวรรธน์ ธัญคุณากูลรัชต์
นับเป็นประเด็นที่ประชาชนจับตาเป็นอย่างมากกับความโปร่งใสกระบวนการยุติธรรมของประเทศไทย เพราะจากการแก้ไขหลายคดีที่ผ่าน ค่อนข้างค้านสายตาประชาชนส่วนใหญ่เป็นอย่างมาก
ทำให้เกิดเสียงต้งอการปฏิวัติวงการยุติธรรมของไทยหนาหูมากขึ้นเรื่อยๆ จนทาง Bansorn
อดที่จะหยิบยกประเด็นดังกล่าวมาทำแบบสำรวจสอบถามถึงความเห็นของประชาชนต่อขั้นตอนกระบวนการยุติธรรมของประเทศไทยส่วนใดที่ควรปรับปรุงมากที่สุดไม่ได้ และนี้คือความเห็นจากประชาชนบางส่วนต่อกระบวนการยุติธรรมไทย
3. ศาลยุติธรรม ผู้ตอบ : (4%)
ในสายตาประชาชนอยากให้แก้ไข Rank : C
ถือว่าเป็นภาพรวมของกระบวนการยุติธรรมที่หากส่วนนี้เป็นปัญหานั้นจะส่งผลต่อกระบวนการยุติธรรมอื่นๆ
ทั้งหมด โดยศาลของประเทศไทยจะมีศาลอยู่ 3 ชั้น ได้แก่ ศาลชั้นต้น
ศาลอุทธรณ์ และศาลฎีกา ซึ่งขั้นตอนการศาลไทยจะเป็นรูปแบบ ระบบกล่าวหา โดยผู้พิพากษาเป็นคนกลางทำหน้าที่ตัดสินคดีความ
ซึ่งทั้ง 3 ศาลยังจำแนกเป็น ศาลแพ่ง ศาลอาญา ศาลจังหวัด ศาลแขวง ศาลแรงงาน ศาลภาษี
ศาลเด็กและเยาวชน เป็นต้น แน่นอนว่าด้วยขั้นตอนที่ซับซ้อนเช่นนี้
ย่อมทำให้การดำเนินการในการตัดสินคดีความล่าช้าออกไปด้วย
ในแง่หนึ่งอาจเป็นผลดีหากคดีมีความคลุมเครือไม่ชัดแจ้ง
การมีศาล 3 ขั้น จะช่วยกันดุลพินิจคดีได้ระเอียดและแม่นยำมากขึ้น
อีกทั้งระบบศาลไทยเป็นการกล่าวหา
การมีหลายศาลคือการให้โอกาสจำเลยได้เตรียมหลักฐานในการต่อสู้คดี ทว่า
ปัจจุบันเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทในชีวิตมากขึ้น ส่งผลให้เกิดหลักฐานบางอย่างที่ชี้ตัวผู้ร้ายได้อย่างชัดเจน
ถึงกระนั้น ศาลก็ยังคงยึดหลักการดำเนินการตามขั้นตอน ซึ่งรูปแบบการทำงานเช่นนี้อาจไม่ทันความต้องการของประชาชนเท่าใดนัก
2.หลักกฎหมาย ผู้ตอบ : (20%)
ในสายตาประชาชนอยากให้แก้ไข Rank : B
หลักกฎหมายคืออีกหนึ่งสิ่งที่ประชาชนส่วนใหญ่ต้องการให้แก้ไข
เพื่อให้ทันต่อสถานการณ์และบริบทสังคมในปัจจุบันที่มีความรุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ
โดยหลายเสียงส่วนใหญ่มีความต้องการให้หลักกฎหมายประเทศไทยมีการลงโทษที่เข้มข้นและเด็ดขาดมากขึ้น
เนื่องจากใครหลายคนมองหลักกฎหมายที่มีการบัญญัติ ณ ตอนนี้ มีโทษที่เบาบางจนเกินไป
ไม่เหมาะสมต่อผู้กระทำผิดได้กระทำลงไป แต่คงเป็นไปได้ยากหรือเป็นไปม่ได้เลยที่จะเปลี่ยนแปลงหลักกฎหมายของไทย
เพราะการเปลี่ยนแปลงหลักกฎหมายหรือพระราชบัญญัตินอกจากจะมีต้องผ่านอย่างต่ำ
3 ขั้นตอน ได้แก่ 1.การพิจารณาหลักการทั่วไปและสาระสำคัญของกฎหมาย 2 .เป็นการตรวจพิจารณารายมาตรา
โดยจะเป็นการตรวจพิจารณาทั้งในแง่เนื้อหากฎหมาย แบบของกฎหมาย รวมถึงถ้อยคำที่ใช้ 3.
เป็นการตรวจพิจารณาความสมบูรณ์ของร่างพระราชบัญญัติทั้งฉบับ โดย 3 ขั้นตอนนี้จะต้องผ่านการพิจารณาของทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ซึ่งรวมไปถึงคณะกรรมการกฤษฎีกา พอเมื่อตรวจสอบเรียบร้อยแล้วก็ยังไม่ประกาศใช้
เพราะคณะกรรมการกฤษฎีกาจะส่งร่างกฎหมาย ไปที่สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีเพื่อเสนอร่างพระราชบัญญัติเข้าสู่การพิจารณาของคณะรัฐมนตรีอีกครั้งหนึ่ง ซึ่งในตรงจุดนี้อาจเหมือนกับข้อที่แรกตรงความล่าช้า
บางครั้งกว่ากฎหมายจะได้รับอนุมัติและได้ประกาศใช้อาจใช้เวลานานถึง 5 ปี
3.ตำรวจ ผู้ตอบ : (71%)
ในสายตาประชาชนอยากให้แก้ไข Rank : S
คอลัมน์ Golden Ranks : 3 สิ่งที่ประชาชนอยากเห็นในกระบวนการยุติธรรมไทย
Reviewed by tonygooog
on
11:41:00
Rating:
ไม่มีความคิดเห็น: